วันพุธที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 9

              

        บันทึกอนุทิน 
                        วิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
                          อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ ตฤณ   แจ่มถิ่น
                  วัน/เดือน/ปี  30  มกราคม  2557      ครั้งที่ 9
          เวลาเข้าสอน  08.30น.       เวลาเรียน 08.30  น. 
เวลาเลิกเรียน  12.20

   วันนี้อาจารย์ให้นำเสนอสื่อกลุ่มของตัวเองและเพื่อนๆ

          ชื่อสื่อ   นับหัวใจใส่ตัวเลข




          วิธีการเล่น 

1.จะให้เด็กนับหัวใจแต่ล่ะช่องว่ามีกี่ดวงแล้วให้เด็กนำตัวเลขไปวางที่ช่องนั้น

2ใเด็กจะหยิบตัวเลขขึ้นมาก่อนก็ได้ ว่าได้ตัวเลขอะไร แลัวไปนับช่องที่มีหัวใจเท่ากับตัวเลข แล้วนำตัวเลขไปวางที่ช่องนั้น

          ผลที่ได้จากทดลอง

เด็กได้รู้การนับจำนวนของตัวเลข และสีต่างๆจากฝากของตัวเลข








          ปัญหาที่พบ 

เด็กจะสงสัยว่าทำไมหัวใจหยิบขึ้นมาไม่ได้ แล้วตัวเลขทำไมหยิบได้

          สรุป

เด็กได้รู้จักการนับจำนวนมากขึ้น เรียนรู้สีต่างๆและบูรณาการ วิชาคณิตศาสตร์





สื่อที่ชอบ เลขหรรษามหาสนุก
 ดิฉันสนใจสื่อชิ้นนี้เพราะ มีความสนใจที่สื่อหนุมได้
 เป็นวงกลมและสีต่างๆของรูปสามและดอกไม้





สื่อของเพื่อนๆ





















ความรู้ที่ได้รับ

สื่อต่างๆที่เราทำสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนได้ และใช้กับเด็กได้จริงๆ
ได้รู้จักการทำงานเป็นทีมของคนในกลุ่ม เกิดความสามัคคีในการทำงานร่วมกัน






วันอาทิตย์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 8

             บันทึกอนุทิน 
                        วิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
                          อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ ตฤณ   แจ่มถิ่น
                  วัน/เดือน/ปี  23  มกราคม  2557      ครั้งที่ 8
          เวลาเข้าสอน  08.30น.       เวลาเรียน 08.30  น. 
เวลาเลิกเรียน  12.20


วันนี้อาจารย์ให้เขียนแผน การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย 
โดยให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน 


ใบงานในการเขียนแผน



บรรยากาศในห้องเรียน



ช่วยกันแช่ความคิดกันค่ะ











อาจารย์ให้คำปรึกษากลุ่มต่างๆ




แผนกลุ่ม ของกลุ่มดิฉัน"สีมหัศจรรย์"ค่ะ



หลังจากทำแผนกลุ่มเสร็จ อาจารย์ให้ทำแผนของตัวเอง
ดิฉัน ได้ทำแผน "ลองนับดูสิ"



ความรู้ที่ไดรับ

ได้ฝึกการเขียนแผนเพิ่มมากขึ้น ได้รับความรู้เพิ่มเติม และสามารถนำมาปรับปรุงแก้ไข
ตรงที่เรายังไม่เข้าใจได้ และนำไปใช้ในการสอนในอนาคตได้


วันเสาร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 7

       
                    บันทึกอนุทิน 
                        วิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
                          อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ ตฤณ   แจ่มถิ่น
                  วัน/เดือน/ปี  16  มกราคม  2557      ครั้งที่ 7
          เวลาเข้าสอน  08.30น.       เวลาเรียน 08.30  น. 
เวลาเลิกเรียน  12.20



วันนี้มี 2 กิจกรรม ที่อาจารย์ให้นักศึกษาทำ
        
โดยกิจกรรมที่ 1

อาจารย์ให้นักศึกษาจับกลุ่ม กลุ่มล่ะ 5-6 คน และให้ทำเป็นตัวหนอนจากรูปทรงต่างๆ
ของเรขาคณิต และสามารถจำแนกได้ ดังนี้
-จำแนกสี
-จำแนกรูปทรงของเตรขาคณิต
อุปกรณ์ในการทำวันนี้
-กระดาษสีต่างๆ
-กาว
-กรรไกร
-สี
-รูปทรงเรขาคณิต


เพื่อนในกลุ่มช่วยกันตัดตกแต่งต่างๆ



ตัวหนอนของกลุ่มดิฉัน "หนอนน้อยลุยสวน"



ผลงานของกลุ่มต่างๆของเพื่อนๆ

 








ภาพรวมผลงาน"ตัวหนอน"ของแต่ล่ะกลุ่มค่ะ




กิจกรรมที่ 2 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
     แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้
1.รูปแบบแผนภูมิ
2.รูปแบบการเปรียบเทียบ
3.รูปแบบการจำแนก

ตัวอย่างทั้ง 3 รูปแบบ

รูปตัวอย่าง "แผนภูมิ"



รูปตัวอย่าง"การเปรียบเทียบ"



รูปตัวอย่าง"การจำแนก"




          กิจกรรมนี้ อาจารย์ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม 3 กลุ่ม โดยอาจารย์ให้หาสิ่งต่างๆมาเปรียบเทียบกัน เช่น เครื่องบิน-เรือ 

       การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
ที่นักศึกษาได้ทำร่วมกัน


1.แบบแผนภูมิ สำรวจว่านักเรียนชอบสีไหนมากที่สุด และสีอื่นๆตามลำดับ



2.แบบการจำแนก ระหว่างสัตว์บกและสัตว์น้ำ



3.แบบการเปรียบเทียบ ระหว่างเครื่องบิน-เรือ



ความรู้ที่ได้รับ

กิจกรรมนี้ช่วยให้เด็กได้ฝึกการสังเกต ฝึกการคิด และสร้างความสามัคคีในหมู่คณะ และกิจกรรมนี้สามารถช่วยพัฒนาการทางด้าน สังคม อารมณ์ จิตใจ และสติปัญญาของเด็ก และสามารถนำไปใช้ประยุกต์ในการสอนในอนาคตได้

วันอาทิตย์ที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 6



        บันทึกอนุทิน 
                        วิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
                          อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ ตฤณ   แจ่มถิ่น
                  วัน/เดือน/ปี  9 มกราคม  2557      ครั้งที่6
          เวลาเข้าสอน  08.30น.       เวลาเรียน 08.30  น. 
เวลาเลิกเรียน  12.20


         วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาทั้งห้องช่วยกันแต่งนิทานร่วมกันหนึ่งเรื่อง และให้แบ่งกลุ่ม กลุ่มล่ะ 5-6 คน แล้วออกมาจับฉลาก เพื่อวาดรูปตามหัวข้อที่แบ่งไว้ โดยให้วาดรูปและเขียนเนื้อหาตามที่กลุ่มของตนเองได้รับมอบหมายไว้ใต้ภาพ


นิทานเรื่อง สามเกลอ...เจอแก๊ส

         กาลครั้งหนึ่งมีเพื่อนสามสหายชื่อว่า สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม และวงกลม ทั้งสามคนมีบุคลิกที่แตกต่างกัน เจ้าสามเหลี่ยมมีอารมณ์ที่ขึ้โมโห เจ้าสี่เหลี่ยมเป็นคนใจกว้าง และเจ้าวงกลมเป็นนเจ้าชู้ วันหนึ่งเจ้าเพื่อนสามคนนี้ออกไปเที่ยวผับ แต่พอเข้าไปแล้วเจ้าสามเหลี่ยมก็รู้สึกหงุดหงิดเพราะเสียงดัง เจ้าสี่เหลี่ยมก็อยู่เฉยๆส่วนเจ้าวงกลมกำลังจีบสาว คนในผับกำลังเคาท์ดาวน์กันอยู่ อยู่ก็มีแก๊สน้ำตาถูกโยนเข้ามาในผับ เจ้าสีเหลี่ยมก็เลยเป่านกหวีด เพื่อบอกให้เพื่อนๆอยู่ในความสงบ...เจ้าวงกลมตะโกนบอกให้เพื่อนปิดจมูก เจ้าสามเหลี่ยมวิ่งไปจับคนที่ขว้างแก๊สน้ำตา แล้วทุกคนก็ทยอยออกไปจากผับ และกลับบ้านอย่างปลอดภัย



กลุ่มของดิฉันได้หน้าปก



และเพื่อนๆแต่ล่ะกลุ่มได้วาดรูปและเขียนใต้ภาพ ดังนี้
  
     1.กาลครั้งหนึ่งมีเพื่อนสามสหายชื่อว่า สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม และวงกลม ทั้งสามคนมีบุคลิกที่แตกต่างกัน เจ้าสามเหลี่ยมมีอารมณ์ที่ขึ้โมโห เจ้าสี่เหลี่ยมเป็นคนใจกว้าง และเจ้าวงกลมเป็นนเจ้าชู้



     2.วันหนึ่งเจ้าเพื่อนสามคนนี้ออกไปเที่ยวผั
 

     3.แต่พอเข้าไปแล้วเจ้าสามเหลี่ยมก็รู้สึกหงุดหงิดเพราะเสียงดัง เจ้าสี่เหลี่ยมก็อยู่เฉยๆส่วนเจ้าวงกลมกำลังจีบสาว คนในผับกำลังเคาท์ดาวน์กันอยู่ 



     4.อยู่ก็มีแก๊สน้ำตาถูกโยนเข้ามาในผับ 



     5.เจ้าสีเหลี่ยมก็เลยเป่านกหวีด เพื่อบอกให้เพื่อนๆอยู่ในความสงบ...



     6.เจ้าวงกลมตะโกนบอกให้เพื่อนปิดจมูก 

 


     7.เจ้าสามเหลี่ยมวิ่งไปจับคนที่ขว้างแก๊สน้ำตา
 


  8.แล้วทุกคนก็ทยอยออกไปจากผับ และกลับบ้านอย่างปลอดภัย
 



หลังจากที่ทุกกลุ่มวาดรูปและเขียนใต้ภาพเสร็จแร้วอาจารย์ก็ให้ออกไปนำเสนอ โดยเล่าเรื่องที่กลุ่มของตนเองได้รับมอบหมาย


ภาพกิจกรรม

ดิฉันได้ออกมาพูดเรื่อง...



 และเพื่อนๆออกมาเล่าเรื่องที่ตนเองได้หัวข้อ









ภาพรวมนิทานค่ะ







ความรู้ที่ได้รับในวันนี้

       วันนี้อาจารย์ให้หัดแต่งนิทานร่วมกันและวาดรูประบายสี ซึ่งกิจกรรมนี้ สามารถนำไปสอนเล่าเรื่องราวให้เด็กได้ฟังและเราสามารถนำไปประยุกต์ในการสอนในอนาคตได้ โดยอาจแต่งเรื่องอื่นๆ